ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไป ด้านประชากร
30 พฤศจิกายน 544

681


    3.2 ช่วงอายุและจำนวนประชากร

กลุ่มอายุ

จำนวนประชากร

ชาย

หญิง

รวม

น้อยกว่า 1 ปี

23

 28

 51

1 – 10 ปี

285

230

515

11 – 20 ปี

263

263

526

21 – 30 ปี

261

260

521

31 – 40 ปี

200

188

388

41 – 50 ปี

158

164

322

51 – 60 ปี

107

122

229

61 – 70 ปี

69

96

165

71 – 80 ปี

39

74

113

81 – 90 ปี

  17

31

48

91 – 100 ปี

   3

  3

 6

มากกว่า 100 ปี

   1

  0

  1

เอกสารแนบ
ข้อมูลทั่วไป ด้านกายาภาพ
30 พฤศจิกายน 542

824


สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

 

1. ด้านกายภาพ

    1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้าน

           ที่ตั้งของหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ  ประกอบด้วย

           หมู่ที่ 1   บ้านเปียะ

           หมู่ที่ 2   บ้านโคกหมัก

           หมู่ที่ 3   บ้านออเลาะปีแน

           หมู่ที่ 4   บ้านบาโงกาเสาะ

           หมู่ที่ 5   บ้านกูแบกีแย

          

           องค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ  ตั้งอยู่เลขที่ 81/2 หมู่ที่ 1 ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของที่ทำการอำเภอหนองจิก ห่างจากที่ว่าการอำเภอหนองจิก ประมาณ 25 กิโลเมตร          อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดปัตตานี  ประมาณ  30 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้

  ทิศเหนือ         ติดต่อกับตำบลคอลอตันหยง  อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

  ทิศตะวันออก    ติดต่อกับตำบลคลองใหม่  อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

  ทิศใต้             ติดต่อกับตำบลม่วงเตี้ย   อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

  ทิศตะวันตก      ติดต่อกับตำบลคอลอตันหยง  อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

 

  องค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ มีเนื้อที่รวมทั้งหมดประมาณ  12  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ  

7,722 ไร่ 

 

1.2 ลักษณะภูมิประเทศ

           สภาพภูมิประเทศพื้นที่ทั้งหมดเป็นที่ราบ  และราบลุ่ม  มีแม่น้ำไหลผ่าน  จึงเหมาะกับการทำการเกษตร  จึงมีการใช้พื้นที่ราบเป็นที่อยู่อาศัย  ปลูกไม้ผล  ไม้ยืนต้น  ยางพารา  คิดเป็นพื้นที่  44.67%  พื้นที่ราบลุ่ม
ใช้ทำนา  คิดเป็นพื้นที่  55.33 %

 

    1.3 ลักษณะภูมิอากาศ

          ภูมิอากาศจังหวัดปัตตานี  เป็นแบบมรสุมเขตร้อน  แบ่งฤดูกาลเป็น  2  ฤดู  ได้แก่  ฤดูฝนและฤดูร้อน

                   1.  ฤดูฝนแบ่งเป็น  2  ช่วง  ได้แก่  ช่วงที่รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้  ซึ่งพัดเอาความชื้นจากทะเลอันดามัน  และมหาสมุทรอินเดียเข้ามา  ทำให้มีฝนตกชุกในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม 
อีกช่วงหนึ่งก็คือ  ช่วงที่ได้รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ  ซึ่งพัดเอาความชื้นจากอ่าวไทยเข้ามา  ทำให้มีฝนตกชุกอีกในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม

                   2.  ฤดูร้อน  อยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน  เนื่องจากได้รับลมตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งเป็นลมร้อนที่พัดมาจากทะเลจีนใต้  ทำให้อากาศโดยทั่วไปร้อนและชื้น

                   ปริมาณน้ำฝนรวมตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคมเฉลี่ย  1,843.4  มิลลิเมตร  โดยปริมาณน้ำฝนสูงสุดในเดือนพฤศจิกายนเฉลี่ย  437.8  มิลลิเมตร  และต่ำสุดในเดือนกุมภาพันธ์เฉลี่ย  31.2  มิลลิเมตร  และมีจำนวนวันที่ฝนตกเฉลี่ยในรอบปี  144  วัน

                    อุณหภูมิ  ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม  เฉลี่ย  81%  โดยความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดในเดือนพฤศจิกายนเฉลี่ย  86%  ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำสุดในเดือนมีนาคม  และเดือนเมษายน เฉลี่ย  78%  เนื่องจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดเข้าสู่ภาคใต้ในช่วงเดือนพฤศจิกายนและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม  จะส่งผลให้ภาคใต้มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย  ในส่วนของจังหวัดปัตตานีมีความเสี่ยงที่จะเกิดพายุหมุนเขตร้อนเนื่องจากอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าวในช่วงเดือนพฤษภาคม  นอกจากนี้ในช่วงฤดูร้อน  (เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน)  โดยเฉพาะในเดือนมีนาคมอาจเกิดภาวะฝนแล้งในบางพื้นที่ของภาคใต้ฝั่งตะวันออก  (ชุมพร  สุราษฎร์ธานี  นครศรีธรรมราช  พัทลุง  สงขลา  ปัตตานี  ยะลาและนราธิวาส)

          

    1.4 ลักษณะของดิน

                   ลักษณะและสมบัติของดินที่พบในตำบลดาโต๊ะ  อำเภอหนองจิก  จังหวัดปัตตานี  แบ่งตามสภาพพื้นที่ได้  2  กลุ่ม  คือ  กลุ่มดินในพื้นที่ราบลุ่มที่มีการระบายน้ำเลวหรือค่อนข้างเลว  และกลุ่มดินในพื้นที่ดอนในเขตชื้นที่มีการระบายน้ำดีหรือดีปานกลาง  พร้อมจัดกลุ่มของกลุ่มชุดดินตามสภาพปัญหา  และศักยภาพของดินในการใช้ประโยชน์ที่ดิน  ดังนี้

                   กลุ่มดินในพื้นที่ราบลุ่มที่มีการระบายน้ำเลวหรือค่อนข้างเลว

                   -  กลุ่มดินเหนียวมีปฏิกิริยาดินเป็นกรด

                   มีเนื้อที่  6,306  ไร่  ประกอบด้วยดินในกลุ่มชุดดินที่  6  และ  6 sp ลักษณะเป็นดินเหนียวละเอียดสีเทาลึกมากที่เกิดจากตะกอนลำน้ำ  เนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งหรือดินร่วนปนดินเหนียว  สีเทา มีจุดประสีเหลืองหรือสีน้ำตาล  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ

 5.0 – 6.0  เนื้อดินล่างเป็นดินเหนียวปนทรายหรือดินเหนียว  สีเทา  มีจุดประสีน้ำตาล  สีเหลืองหรือสีแดงของศิลาแลงอ่อนปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง     มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ  4.5 – 6.0 บางพื้นที่อาจพบชั้นดินร่วนปนทรายภายในความลึก  150  ซ.ม.จากผิวดิน

                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ำ  ดินมีโครงสร้างแน่นทึบ 
เมื่อหน้าดินแห้งจะแข็งแรงและไถพรวนยาก  และขาดแคลนน้ำและมีน้ำท่วมขังในฤดูฝนนานทำความเสียหายกับพืชที่ไม่ชอบน้ำ

                   ดินมีศักยภาพเหมาะสมในการทำนาในฤดูฝน  และฤดูแล้ง  และสามารถปลูกพืชไร่  และพืชผักหรือพืชอื่น  ๆ  ที่มีอายุสั้นได้  สำหรับในบริเวณพื้นที่ที่มีชลประทานเข้าถึงหรือมีแหล่งน้ำธรรมชาติจะสามารถใช้ปลูกไม้ยืนต้น  ไม้ผล  หรือปลูกพืชไร่  และพืชผักได้ตลอดทั้งปี  โดยต้องทำคันดินล้อมรอบพื้นที่เพาะปลูกและยกร่องปลูกเพื่อช่วยการระบายน้ำของดิน

 

 

                 -  กลุ่มดินร่วน

                   มีเนื้อที่  339  ไร่  ประกอบด้วยดินในกลุ่มชุดดินที่  17  ลักษณะเป็นดินร่วนหยาบหรือดินร่วนละเอียดสีเทาลึกมากที่เกิดจากตะกอนลำน้ำ  เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย  สีเทาหรือสีน้ำตาลปนเทา  มีจุดประสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ  5.0-6.5  เนื้อดินล่างเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนปนดินเหนียว  ชั้นดินล่างถัดไปอาจพบ
ชั้นดินเหนียวสีดินเป็นสีเทาหรือสีน้ำตาลปนเทาทับอยู่บนดินที่มีสีเทา  มีจุดประสีน้ำตาล  สีเหลืองหรือสีแดงของศิลาแลงอ่อน  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ  4.5 – 6.5

 

  1.  ลักษณะของแหล่งน้ำ

                   1.  คลองใหม่  เป็นคลองธรรมชาติ  รับน้ำจากท้ายเขื่อนปัตตานี  ผ่านพื้นที่รอยต่อกับตำบลคลองใหม่  อำเภอยะรัง  ที่หมู่ที่ 1  และหมู่ที่  3

                   2.  ลำธารกูแบกีแย  ไหลผ่านหมู่ที่  5  และหมู่ที่  2

                   3.  มีคลองส่งน้ำชลประทานผ่านและสามารถรับน้ำได้ทุกหมู่บ้าน  จำนวน  2  สาย

   1.6 ลักษณะของไม้และป่าไม้

           โดยภาพรวม  พื้นที่ในตำบลมีการใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรและอยู่อาศัยเกือบทั้งหมดของพื้นที่  คงมีที่ป่าละเมาะ  ในที่สาธารณะของแต่ละหมู่บ้านเพียงเล็กน้อยเกือบทุกหมู่บ้าน  และมีที่ป่าสาธารณะเป็นผืนใหญ่อยู่ที่  หมู่ที่  2 ตำบลดาโต๊ะ  91  ไร่ 1 งาน  8  ตารางวา ปัจจุบันพื้นที่บางส่วนถูกนำมาใช้เป็นสถานที่ดำเนินงานโครงการฟาร์มตัวอย่างฯ อันเนื่องมาจากพระราชดำริในสมเด็จพระบรมราชินีนาถ (ฟาร์มบ้านโคกหมัก)

 

ข้อมูลทั่วไป ด้านการเมือง/การปกครอง
30 พฤศจิกายน 542

1382


2. ด้านการเมือง/การปกครอง

    2.1 เขตการปกครอง

           องค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ ได้จัดตั้งจากสภาองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540  แบ่งการปกครองออกเป็น 5 หมู่บ้าน  ประกอบด้วย

          

           หมู่ที่ 1   บ้านเปียะ               นายต่วนอารง    นิจา              ผู้ใหญ่บ้าน

           หมู่ที่ 2   บ้านโคกหมัก           นายสุรัตน์        จันทร์แสง        ผู้ใหญ่บ้าน

           หมู่ที่ 3   บ้านออเลาะปีแน       นายรอนิง        ตาเยะ            ผู้ใหญ่บ้าน

           หมู่ที่ 4   บ้านบาโงกาเสาะ       นายมะดิง        รามอ             ผู้ใหญ่บ้าน/กำนันตำบลดาโต๊ะ

           หมู่ที่ 5   บ้านกูแบกีแย           นายอับดุลอาซิ   ปาแซ             ผู้ใหญ่บ้าน

 

    2.2 การเลือกตั้ง

           องค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ แบ่งเขตการเลือกตั้งเป็นจำนวน 5 เขต คือเขตเลือกตั้งที่ 1-5 โดยมีรายละเอียดดังนี้

           เขตเลือกตั้งที่  1   บ้านเปียะ              สถานที่หน่วยเลือกตั้ง โรงเรียนบ้านเปียะ   

           เขตเลือกตั้งที่  2   บ้านโคกหมัก           สถานที่หน่วยเลือกตั้ง อาคารเอนกประสงค์บ้านโคกหมัก

           เขตเลือกตั้งที่  3   บ้านออเลาะปีแน      สถานที่หน่วยเลือกตั้ง อาคารเอนกประสงค์ออเลาะปีแน

           เขตเลือกตั้งที่  4   บ้านบาโงกาเสาะ      สถานที่หน่วยเลือกตั้ง โรงเรียนบ้านบาโงกาเสาะ                         เขตเลือกตั้งที่  5   บ้านกูแบกีแย                   สถานที่หน่วยเลือกตั้ง อาคารอเนกประสงค์บ้านกูแบกีแย

 
ข้อมูลทั่วไป ด้านสภาพทางสังคม
30 พฤศจิกายน 542

463


4. สภาพทางสังคม

    4.1 การศึกษา

           -  โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านเปียะ ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1                     โรงเรียนบ้านโคกหมัก ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 2 และโรงเรียนบ้านบาโงกาเสาะ ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 4   

           -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน  1  ศูนย์  (2 ห้องเรียน)  ตั้งอยู่ที่องค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ หมู่ที่ 1           -  ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน  5  หมู่บ้าน  ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1 – 5

           -  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตำบลดาโต๊ะ จำนวน 1 ศูนย์  ตั้งอยู่หมู่ที่ 1  

    4.2 สาธารณสุข

           ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ  มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาโต๊ะ จำนวน 1 แห่ง
มีบุคลากรทางการแพทย์และลูกจ้างที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานบริการ  จำนวน 4 คน  อาสาสมัครสาธารณสุข  จำนวน 35  คน อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน จำนวน 5 คน และมีระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) ซึ่งมีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) จำนวน 20 คน
ลงพื้นที่ให้บริการประชาชนอย่างต่อเนื่อง ทั่วถึง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลดาโต๊ะ ทั้ง 5 หมู่บ้าน 

    4.3 อาชญากรรม

           ตำบลดาโต๊ะอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรหนองจิก ประกอบกับแต่ละหมู่บ้าน                     มีชุดรักษาความสงบหมู่บ้าน คอยเป็นกำลังสำคัญในการแจ้งเบาะแสและข้อมูลข่าวสารให้กับทางราชการทราบอยู่ตลอดเวลาทำให้ปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่อยู่ในระดับน้อย

 

 

 

 

    4.4 ยาเสพติด

         ตำบลดาโต๊ะประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำนา ทำสวน และรับจ้างทั่วไป ทำให้มีความปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดค่อนข้างน้อย และหน่วยงานของทางราชการได้มีการสุ่มตรวจและคัดกรองบุคคลที่เป็นเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงพบว่าในพื้นที่ส่วนใหญ่มียาเสพติดชนิดใบกระท่อม พบมากในกลุ่มเด็กวัยรุ่น
แต่เนื่องจากพื้นที่อยู่ในความรับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรหนองจิกคอยสอดส่องดูแลและหาเบาะแสผู้กระทำผิดอยู่เป็นประจำ ประกอบกับแต่ละชุมชนผู้นำท้องถิ่น พร้อมด้วยชุดรักษาความสงบหมู่บ้าน คอยเป็นกำลังสำคัญในการแจ้งเบาะแสและข้อมูลข่าวสารให้กับทางราชการทำให้ปัญหายาเสพติดเบาบางลงตามลำดับ  

    4.5 การสังคมสงเคราะห์

           องค์การบริหารส่วนตำบลได้ดำเนินการด้านสังคมสงเคราะห์ ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ
ผู้พิการ รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ประสานการรับบัตรผู้พิการ   อีกทั้งยังมีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน จำนวน 5 คน และมีระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง  (Long Term Care)   ซึ่งมีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ  (Care Giver) จำนวน  20 คน

 

ข้อมูลทั่วไป ด้านระบบบริการพื้นฐาน
30 พฤศจิกายน 542

362


5. ระบบบริการพื้นฐาน

    5.1 การคมนาคมขนส่ง

           ตำบลดาโต๊ะมีเส้นทางการคมนาคม โดยมีรายละเอียดดังนี้

Ø เส้นทางหลัก

                   -    ทางลาดยางมาตรฐานทางหลวงแผ่นดิน สาย 418จากบ้านคลองขุด อำเภอหนองจิก
จังหวัดปัตตานี ถึงบ้านท่าสาป ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา  เข้าสู่ตำบลดาโต๊ะโดยผ่านแยก
บ้านบาซาเอ-นาเกตุ ผ่านหมู่ที่  2  ตำบลดาโต๊ะ  ระยะทางจากอำเภอถึงตำบลดาโต๊ะ  ประมาณ  20  กิโลเมตร

                   -  ทางลาดยางมาตรฐานของโยธา  แยกจากถนนเพชรเกษม  ตำบลนาเกตุ  อำเภอโคกโพธิ์  ผ่านหมู่ที่  2  ตำบลดาโต๊ะ  ระยะทางจากอำเภอถึงตำบลดาโต๊ะ  ประมาณ  27  กิโลเมตร

                   -  ถนนทางหลวงชนบท  หรือ  รพช.เก่า  แยกจากถนนเพชรเกษม  ที่หมู่ที่  7  ตำบลบ่อทอง  ตำบลปุโล๊ะปุโย  ตำบลคอลอตันหยง  ถึงหมู่ที่  3  หมู่ที่  1  ตำบลดาโต๊ะ  ระยะห่าง  25  กิโลเมตร

Ø ถนนภายในหมู่บ้านและตำบล

                             -  ถนนลาดยาง  สายจากหมู่ที่  1  ผ่านหมู่ที่  5  หมู่ที่  4  ถึงหมู่ที่  2

                             -  ถนนลูกรัง  สายจากหมู่ที่  1  ถึงหมู่ที่  2 

                             -  ถนน  รพช.เก่า  ปัจจุบันเป็นทางหลวงชนบทจากถนนเพชรเกษมที่ตำบลนาประดู่  ถึง  หมู่ที่  4, 5, 1 ตำบลดาโต๊ะ

 

 

      5.2 การไฟฟ้า

           ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะมีจำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือนตลอดจนมีไฟฟ้าส่องสว่างอย่างทั่วถึง

 

 

 

      5.3 การประปา

 การประปาในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ มีการให้บริการน้ำประปาหมู่บ้านให้กับประชาชน จำนวน 2 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 2 เป็นระบบประปาหมู่บ้านที่ดูแลโดยคณะกรรมการของหมู่บ้านเอง ส่วนหมู่ที่ 4 ใช้น้ำจากระบบบ่อบาดาลตามหลังคาเรือน

      5.4 โทรศัพท์

           ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ มีการสื่อสารที่สำคัญ ได้แก่ ทางโทรศัพท์บ้านและโทรศัพท์เคลื่อนที่ และมีเครือข่ายของโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ AIS, DTAC, TRUE

      

ข้อมูลทั่วไป ด้านระบบเศรษฐกิจ
30 พฤศจิกายน 542

490


6. ระบบเศรษฐกิจ

      6.1 การเกษตร

           ตำบลดาโต๊ะ มีพื้นที่กว้างและอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำการเกษตร  ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร   เช่น  ทำนา   สวนผลไม้ และสวนยางพารา และในปัจจุบันมีการปลูกปาล์มน้ำมันในบางพื้นที่  ลักษณะการทำสวนผลไม้เป็นการทำสวนแบบผสมผสาน โดยดูได้จากร้อยละของประชากรจำแนกตามการประกอบอาชีพตามตาราง ดังต่อไปนี้

 

ที่

ชนิดพืช

พันธุ์ดีส่งเสริม

พันธุ์ดีพื้นเมือง

ชื่อพันธุ์พืช

ราย

ไร่

ราย

ไร่

1

 

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

 

 

ข้าวนาปี

ข้าวนาปรัง

ยางพารา

มะพร้าวแก่

ปาล์มน้ำมัน

ลองกอง

ทุเรียน

เงาะ

ส้มโอ

มังคุด

มันเทศ

ข้าวโพดหวาน

พืชผัก

-  แตงกวา

-  ถั่วฝักยาว

-  บวบ

-  พริกขี้หนูสวน

-  อื่น  ๆ

48

-

457

-

20

247

73

52

7

75

20

25

12

43

47

-

30

 

174

-

2,186

-

85

250

59

25

2

32

52

15

11

10

13

-

10

263

-

-

38

-

-

18

-

10

-

11

-

-

-

-

25

16

 

2,170

-

-

25

-

-

10

-

5

-

25

-

-

-

-

8

8

 

เล็บนก,  ช่อลุง, สังข์หยด

 

อาร์  อาร์ ไอ เอ็ม  600

พื้นเมือง

 

 

หมอนทอง,ก้านยาว

โรงเรียน

ขาวทองดี,  โวตี

 

 

ซูเปอร์สวิต

 

 

 

 

 

มะเขือ

 

ข้อมูลจากสำนักงานเกษตรอำเภอหนองจิก ประจำปี พ.ศ.2559

     

 

 

6.5 การท่องเที่ยว

             ในตำบลดาโต๊ะมีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในพื้นที่ ประกอบด้วย

                   1. แหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตร คือ โครงการฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม
ราชินีนาถ  ตั้งอยู่ที่หมู่ 2  บ้านโคกหมัก  ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เหมาะสำหรับเป็นศูนย์เรียนรู้และทัศนศึกษาดูงาน มีการสาธิตและจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษ

             2. แหล่งท่องเที่ยวทางศาสนา ได้แก่ วัดโคกสมานประชาราม นมัสการหลวงพ่อรักษ์ และหลวงพ่อเพ็งวัดโคกหมัก ซึ่งถือเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่ยึดเหนี่ยวของประชาชนในตำบลดาโต๊ะและประชาชนทั่วไป

 

 

      6.6 อุตสาหกรรม

             ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญในพื้นที่  คือ  ผลผลิตข้าว  เกษตรกรในพื้นที่มีความสามารถผลิตข้าวได้พอเพียงต่อการบริโภค  คือเน้นผลผลิตข้าวนาปี  มีผลผลิตข้าวเปลือกเหลือจากการบริโภค  เกษตรกรจำหน่ายให้กับพ่อค้าที่มารับซื้อในหมู่บ้านเพื่อนำไปแปรรูปจำหน่ายในตลาดท้องถิ่น

 

      6.7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ

Ø กลุ่มอาชีพ

ในตำบลมีการรวมกลุ่มเพื่อประกอบอาชีพด้วยกัน คือ

1.  กลุ่มเกษตรกรทำนาโคกหมัก สมาชิก 7 คน (กลุ่มวิสาหกิจชุมชน)

2.  กลุ่มเกษตรกรทำขนมจีนบ้านออเลาะปิแน สมาชิก 7 ราย (กลุ่มวิสาหกิจชุมชน)

3.  กลุ่มสตรีบ้านเปี๊ยะ สมาชิก 30 คน (กลุ่มวิสาหกิจชุมชน)

4.  กลุ่มส่งเสริมอาชีพจำนวน 6  กลุ่ม

5.  กลุ่มสายใยรักแห่งครอบครัว  จำนวน 1  กลุ่ม

7.  กลุ่มยุวเกษตรกรจำนวน  2  กลุ่ม

Ø องค์กรในชุมชน

1.      กลุ่มเกษตรกร

2.      กลุ่มลูกค้า ธกส.

3.      กลุ่มสัจจะออมทรัพย์

4.      กลุ่มยุวเกษตรกร

5.      กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร

Ø กองทุน

1.     กองทุนหมู่บ้าน 5 กองทุน  โดยกองทุนละ 1 ล้านบาท ทุกหมู่บ้าน

2.    กองทุนสัจจะออมทรัพย์ หมู่ที่ 2 บ้านโคกหมัก จำนวน 1  กองทุน

 

      6.8 แรงงาน

                   เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ในตำบลดาโต๊ะประกอบอาชีพเกษตรกรรม การใช้แรงงานในการประกอบอาชีพการเกษตรของเกษตรกร  มีการใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นส่วนใหญ่  เฉลี่ย  2 – 3  คน 
ต่อครัวเรือน  เนื่องจากเกษตรกรมีการทำกิจกรรมขนาดเล็ก  และส่วนใหญ่จะไปใช้แรงงานที่จังหวัดปัตตานี  สงขลา  ยะลา  และประเทศมาเลเซีย

7. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)

ข้อมูลทั่วไป ด้านเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น
30 พฤศจิกายน 542

497


7. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)

7.1 ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน

           องค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ ได้จัดตั้งจากสภาองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2551 แบ่งการปกครองออกเป็น จำนวน 5 หมู่บ้าน ประกอบด้วย

           เขต ๑

           หมู่ที่ 1   บ้านเปียะ               นายต่วนอารง    นิจา              ผู้ใหญ่บ้าน

           หมู่ที่ 2   บ้านโคกหมัก           นายสุรัตน์        จันทร์แสง        ผู้ใหญ่บ้าน

           หมู่ที่ 3   บ้านออเลาะปีแน       นายรอนิง        ตาเยะ            ผู้ใหญ่บ้าน

           หมู่ที่ 4   บ้านบาโงกาเสาะ       นายมะดิง        รามอ             ผู้ใหญ่บ้าน/กำนันตำบลดาโต๊ะ

           หมู่ที่ 5   บ้านกูแบกีแย           นายอับดุลอาซิ   ปาแซ             ผู้ใหญ่บ้าน

 

 

      7.2 ข้อมูลด้านการเกษตร

 

                  

หมู่ที่

จำนวนครัวเรือน

ประชากร

ทั้งหมด

เกษตรกร

ทั้งหมด

ชาย

หญิง

1

2

3

4

5

285

143

82

130

96

176

130

51

120

78

947

417

408

583

530

453

198

205

306

268

494

219

203

277

262

รวม

736

555

2,885

1,430

1,455

                                                           ที่มา :  สำนักงานเกษตรอำเภอหนองจิก

 

ตาราง แสดงครัวเรือน/พื้นที่ชนิดพืชที่ปลูก

 

หมู่ที่

ครัวเรือนปลูกพืช

ชนิดพืช/ครัวเรือน/พื้นที่ปลูก ( ไร่ )

ข้าวนาปี

พืชไร่

ยางพารา

พืชผัก

เงาะ

ปาล์มน้ำมัน

ทุเรียน

มะพร้าว

ลองกอง

1

2

3

4

5

 

254

116

73

120

85

83/496

57/310

48/225

65/537

76/510

62/110

25/32

20/28

28/26

26/44

107/1,085

113/642

49/459

128/894

51/560

 

92/26

60/68

41/10

41/20

54/20

16/5

15/4

6/3

4/2

7/8

18/76.5

29/159

2/5

7/38

2/15

40/15

8/3

19/12

7/6

19/10

30/10

22/5

10/9

8/3

10/5

40/20

39/10

14/10

7/2

20/15

 

648

329/2,078

161/240

448/3,640

192/144

48/22

58/293.5

91/46

136/32

120/57

                                                          ที่มา :  สำนักงานเกษตรอำเภอหนองจิก

 

 

 

 

 

      7.3 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร

                (1) บ้านเปียะ หมู่ที่ 1 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,357.50 ไร่  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

ü

-

-  มิลลิเมตร

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

1. แม่น้ำ

1

ü

 

 

ü

50

2. ห้วย/ลำธาร

-

 

-

 

-

-

 3. คลอง

2

ü

 

ü

 

50

4. หนองน้ำ/บึง

3

 

ü

 

ü

10

5. น้ำตก

-

 

-

-

-

-

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

1. แก้มลิง

-

 

-

-

-

-

2. อ่างเก็บน้ำ

-

 

-

-

-

-

3. ฝาย

-

 

-

 

-

-

4. สระ

-

 

-

 

-

-

5. คลองชลประทาน

1

ü

 

 

-

50

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1) บ่อน้ำตื้น.

6.2) ท่อน้ำดิบ.

6.3)                .

 

-

-

 

-

-

 

 

 

 

-

-

 

-

-

               

 

หมายเหตุ  บ้านเปียะ หมู่ที่ 1  น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม เนื่องจากปัญหาภัยแล้ง หรือทางโครงการชลประทานงดการจ่ายน้ำเพื่อรักษาระดับน้ำในเขื่อน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                (2) บ้านโคกหมัก หมู่ที่ 2 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,088 ไร่  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

ü

-

-  มิลลิเมตร

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

1. แม่น้ำ

1

ü

 

 

ü

50

2. ห้วย/ลำธาร

-

 

-

 

-

-

 3. คลอง

2

ü

 

ü

 

50

4. หนองน้ำ/บึง

3

ü

 

 

ü

10

5. น้ำตก

-

 

-

-

-

-

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

1. แก้มลิง

-

 

-

-

-

-

2. อ่างเก็บน้ำ

-

 

-

-

-

-

3. ฝาย

-

 

-

 

-

-

4. สระ

-

 

-

 

-

-

5. คลองชลประทาน

1

ü

 

 

-

50

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1) บ่อน้ำตื้น.

6.2) ท่อน้ำดิบ.

6.3)                .

 

-

-

 

-

-

 

 

 

 

-

-

 

-

-

               

 

หมายเหตุ  บ้านโคกหมัก หมู่ที่ 2  น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม เนื่องจากปัญหาภัยแล้ง หรือทางโครงการชลประทานงดการจ่ายน้ำเพื่อรักษาระดับน้ำในเขื่อน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                (3) บ้านออเลาะปีแน หมู่ที่ 3 มีพื้นที่ทั้งหมด 488 ไร่  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

ü

-

-  มิลลิเมตร

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

1. แม่น้ำ

1

ü

 

 

ü

50

2. ห้วย/ลำธาร

-

 

-

 

-

-

 3. คลอง

2

ü

 

ü

 

50

4. หนองน้ำ/บึง

3

ü

 

 

ü

10

5. น้ำตก

-

 

-

-

-

-

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

1. แก้มลิง

-

 

-

-

-

-

2. อ่างเก็บน้ำ

-

 

-

-

-

-

3. ฝาย

-

 

-

 

-

-

4. สระ

-

 

-

 

-

-

5. คลองชลประทาน

1

ü

 

 

-

50

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1) บ่อน้ำตื้น.

6.2) ท่อน้ำดิบ.

6.3)                .

 

-

-

 

-

-

 

 

 

 

-

-

 

-

-

               

 

หมายเหตุ  บ้านออเลาะปีแน หมู่ที่ 3  น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม เนื่องจากปัญหาภัยแล้ง หรือทางโครงการชลประทานงดการจ่ายน้ำเพื่อรักษาระดับน้ำในเขื่อน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                (4) บ้านบาโงกาเสาะ หมู่ที่ 4 มีพื้นที่ทั้งหมด 1}030 ไร่  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

ü

-

-  มิลลิเมตร

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

1. แม่น้ำ

1

ü

 

 

ü

50

2. ห้วย/ลำธาร

-

 

-

 

-

-

 3. คลอง

2

ü

 

ü

 

50

4. หนองน้ำ/บึง

3

ü

 

 

ü

10

5. น้ำตก

-

 

-

-

-

-

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

1. แก้มลิง

-

 

-

-

-

-

2. อ่างเก็บน้ำ

-

 

-

-

-

-

3. ฝาย

-

 

-

 

-

-

4. สระ

-

 

-

 

-

-

5. คลองชลประทาน

1

ü

 

 

-

50

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1) บ่อน้ำตื้น.

6.2) ท่อน้ำดิบ.

6.3)                .

 

-

-

 

-

-

 

 

 

 

-

-

 

-

-

               

 

หมายเหตุ  บ้านบาโงกาเสาะ หมู่ที่ 4  น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม เนื่องจากปัญหาภัยแล้ง หรือทางโครงการชลประทานงดการจ่ายน้ำเพื่อรักษาระดับน้ำในเขื่อน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                (5) บ้านกูแบกีแย หมู่ที่ 5  มีพื้นที่ทั้งหมด 884  ไร่  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

ü

-

-  มิลลิเมตร

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

1. แม่น้ำ

1

ü

 

 

ü

50

2. ห้วย/ลำธาร

-

 

-

 

-

-

 3. คลอง

2

ü

 

ü

 

50

4. หนองน้ำ/บึง

3

ü

 

 

ü

10

5. น้ำตก

-

 

-

-

-

-

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

1. แก้มลิง

-

 

-

-

-

-

2. อ่างเก็บน้ำ

-

 

-

-

-

-

3. ฝาย

-

 

-

 

-

-

4. สระ

-

 

-

 

-

-

5. คลองชลประทาน

1

ü

 

 

-

50

6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1) บ่อน้ำตื้น.

6.2) ท่อน้ำดิบ.

6.3)                .

 

-

-

 

-

-

 

 

 

 

-

-

 

-

-

               

 

หมายเหตุ  บ้านกูแบกีแย หมู่ที่ 5  น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม เนื่องจากปัญหาภัยแล้ง หรือทางโครงการชลประทานงดการจ่ายน้ำเพื่อรักษาระดับน้ำในเขื่อน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

               

    7.4 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)

               (1) บ้านเปียะ  หมู่ที่ 1 

               มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

ü

 

ü

 

 90

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

 

 

ü

 

ü

20

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)   บ่อน้ำตื้นส่วนบุคคล      .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

ü

 

 

 

 

ü

 

10

 

               (2) บ้านโคกหมัก  หมู่ที่ 2 

               มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

ü

 

 

 

 

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

ü

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)  ระบบประปาหมู่บ้าน(ของชุมชน .

4.6.2)  บ่อบาดาลส่วนบุคคล                            

4.6.3)                               .

 

 

ü

ü

 

 

ü

 

 

ü

 

100

10

 

 

 

 

 

 

               (3) บ้านออเลาะปีแน หมู่ที่ 3 

               มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

ü

 

 

 

 60

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

 

 

ü

 

ü

40

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)   บ่อน้ำตื้นส่วนบุคคล    .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

ü

 

 

 

ü

 

 

 

80

 

 

               (4) บาโงกาเสาะ หมู่ที่ 4  มี มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

50

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

 

ü

 

ü

10

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

ü

 

 

 

 

 

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

ü

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)     บ่อบาดาลส่วนบุคคล                    

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

ü

 

 

 

 

 

20

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

               (5) บ้านกูแบกีแย  หมู่ที่ 5   มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

 

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

 

ü

 

 

50

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

 

 

ü

 

ü

30

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)     บ่อบาดาลส่วนบุคคล                          

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

ü

 

 

 

 

 

30

 

 

               

ฐานข้อมูลคนพิการรับเงินเบี้ยความพิการ ประจำปีงบประมาณ 2560
30 พฤศจิกายน 542

201


ฐานข้อมูลคนพิการรับเงินเบี้ยความพิการ ประจำปีงบประมาณ 2560

เอกสารแนบ
ฐานข้อมูลผู้สูงอายุรับเงินเบี้ยยังชีพ ประจำปีงบประมาณ 2560
30 พฤศจิกายน 542

376


ฐานข้อมูลผู้สูงอายุรับเงินเบี้ยยังชีพ ประจำปีงบประมาณ 2560

เอกสารแนบ